วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558

ร่วมภาพกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน/หนึ่งคนหนึ่งอาชีพ 2558



ภาพกิจกรรมโครงการหนึ่งคนหนึ่งอาชีพ กศน.อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
จำนวน 13 ตำบล/ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน  ระหว่างเดือนมกราคม 2558(ภาคเรียนที่2/2557)












 




 




 


 






 







 




 






















 








วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปผลการดำเนินงานโครงการหนึ่งคนหนึ่งอาชีพ ประจำปี 2558 ภาคเรียนที่ 2/2557

รูปเล่ม  ..สรุปผลการดำเนินงานโครงการหนึ่งคนหนึ่งอาชีพ ประจำปี 2558 ภาคเรียนที่ 2/2557


บทที่ ๑
บทนำ

หลักการและเหตุผล

                    จากการที่รัฐบาลมีนโยบายที่จะคืนความสุขให้กับประชาชนในช่วงเทศกาลปีใหม่  พ.ศ.๒๕๕๘ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดให้มี  ของขวัญปีใหญ่ที่กระทรวงศึกษาธิการมอบให้ประชาชน ในเรื่องดังกล่าวสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.)ได้เล็งเห็นความสำคัญสิ่งที่กระทรวงศึกษาธิการ มอบให้ประชาชนในช่วงปีใหม่  และเห็นว่าในปัจจุบันประชาชนมีเศรษฐกิจไม่ค่อยดีนัก มีค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันที่ว่างงาน  หรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิม  หรือประชาชนที่ได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ และค่าครองชีพในการดำรงชีวิตประจำวันให้มีรายได้เพิ่มขึ้น จะทำให้ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิตและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขมากยิ่งขึ้น

 

วัตถุประสงค์ของโครงการ


เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนที่ว่างงาน  หรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิม  หรือ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ และค่าครองชีพในการดำรงชีวิตประจำวันให้มีรายได้เพิ่มขึ้น


เป้าหมายของโครงการ

เชิงปริมาณ
ผู้เข้าอบรมในโครงการ 13 ตำบล/ ๒๐ คน  รวมจำนวน  ๒๖๐  คน

                   เชิงคุณภาพ
                   ๑. ประชาชนที่ได้รับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการฝึกอาชีพตามที่ตนเองต้องการที่ กศน. ตำบล/แขวง จัดฝึกให้
                   ๒. ประชาชนที่ได้รับการฝึกอาชีพสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพ หรือเป็นอาชีพเสริมต่อไปทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น 
                   ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ
สถานที่ดำเนินการ
           
                   ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ๑๓ ตำบล อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี








วิธีดำเนินการ

กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่ดำเนินการ
ระยะเวลา
งบประมาณ
๑. ประชาสัมพันธ์โครงการฯให้ประชาชนทุกตำบลทราบ
เพื่อเชิญชวนประชาชนที่สนใจมาสมัครเข้าร่วมโครงการ กศน.ฝึกอาชีพให้ประชาชนหนึ่งคนหนึ่งอาชีพ.
ประชาชนที่ว่างงานหรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิมหรือเปลี่ยนอาชีพใหม่
ทุกตำบลทั้ง
๑๓ ตำบล
ประชาสัมพันธ์และรับสมัครตั้งแต่ ๑-๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗
-
๒. จัดฝึกอาชีพให้กับประชาชนตามความสนใจในแต่ละพื้นที่
เพื่อฝึกอาชีพให้กับประชาชนที่สมัครเข้า
ประชาชนที่ว่างงานหรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิม หรือ
กศน.ตำบล
จำนวน
๑๓ ตำบล
ฝึกอาชีพ ๕-๑๕ มกราคม ๕๘
ใช้งบประมาณศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
๓. ติดตามผลและรายงานผลการดำเนินโครงการ
เพื่อติดตามและรายงานผลการฝึกอาชีพให้กับประชาชน
ผู้ที่ได้รับการฝึกอาชีพจากสถานศึกษา กศน.ทั่วประเทศ
กศน.ตำบลทั้ง
๑๓ ตำบล
๑๕ – ๒๐มกราคม ๕๘
-


สถานที่ดำเนินโครงการ

ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลทั้ง ๑๓  แห่ง อำเภอบ้านดุง   จังหวัดอุดรธานี

ผู้รับผิดชอบโครงการ
กศน.ตำบล ทั้ง ๑๓ แห่ง                                                                                                    ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านดุง
เครือข่าย
          ๑.ผู้นำชุมชน
          ๒.องค์การบริหารส่วนตำบล
          ๓.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
          ๔.สำนักงานเกษตร
ผลลัพธ์

ประชาชนได้รับการฝึกอาชีพ  สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือเป็นอาชีพเสริมให้กับครอบครัว

บทที่ ๒
เอกสารอ้างอิง


๑.     โครงการ กศน.ฝึกอาชีพให้ประชาชน หนึ่งคน..หนึ่งอาชีพ





























๒.     หลักสูตรการอาชีพ
หลักสูตร/วิชาที่จัดฝึกอบรมอาชีพให้กับประชาชน เป็นหลักสูตรอาชีพที่ได้พัฒนาปรับปรุงให้เป็นไปตามความต้องการและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและตามสภาพพื้นที่ของผู้เรียน ซึ่งแต่ละหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๕๐ ชั่วโมง มีภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการฝึกอบรม

หลักสูตร/วิชาที่จัดฝึกอบรม
ระยะเวลาฝึกอบรม
 พื้นที่ฝึกอบรม
การเลี้ยงไก่ไข่
การเลี้ยงจิ้งหรีด
การทอผ้าฝ้าย
 เสริมสวย
การทอผ้าฝ้าย
นวดแผนไทย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
ร้อยมาลัยดอกไม้สด
การเลี้ยงจิ้งหรีด
การปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่
เสริมสวย
การเลี้ยงปลาดุก
การปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย์
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
๕๐
กศน.ตำบลโพนสูง
กศน.ตำบลศรีสุทโธ
กศน.ตำบลบ้านดุง
กศน.ตำบลบ้านจันทน์
กศน.ตำบลบ้านม่วง
กศน.ตำบลวังทอง
กศน.ตำบลอ้อมกอ
กศน.ตำบลบ้านตาด
กศน.ตำบลดงเย็น
กศน.ตำบลบ้านชัย
กศน.ตำบลถ่อนนาลับ
กศน.ตำบลนาคำ
กศน.ตำบลนาไหม
๙  หลักสูตร
๑๓ ตำบล

















       บทที่ ๓
วิธีการดำเนินการ                                            
ขั้นตอนการดำเนินการ      
                                     
กิจกรรมหลัก
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่ดำเนินการ
ระยะเวลา
งบประมาณ
๑. ประชาสัมพันธ์โครงการฯให้ประชาชนทุกตำบลทราบ
เพื่อเชิญชวนประชาชนที่สนใจมาสมัครเข้าร่วมโครงการ กศน.ฝึกอาชีพให้ หนึ่งคนหนึ่งอาชีพ.
ประชาชนที่ว่างงานหรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิมหรือเปลี่ยนอาชีพใหม่
ทุกตำบลทั้ง
๑๓ ตำบล
ประชาสัมพันธ์และรับสมัครตั้งแต่ ๑-๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗
-
๒. จัดฝึกอาชีพให้กับประชาชนตามความสนใจในแต่ละพื้นที่
เพื่อฝึกอาชีพให้กับประชาชนที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม


การเลี้ยงไก่ไข่
การเลี้ยงจิ้งหรีด
การทอผ้าฝ้าย
 เสริมสวย
การทอผ้าฝ้าย
นวดแผนไทย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
ร้อยมาลัยดอกไม้สด
การเลี้ยงจิ้งหรีด
การปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่
เสริมสวย
การเลี้ยงปลาดุก
การปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย์
ประชาชนที่ว่างงานหรือมีอาชีพอยู่แล้วต้องการต่อยอดอาชีพเดิม หรือ
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน

๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
๒๐ คน
กศน.ตำบล
จำนวน
๑๓ ตำบล


โพนสูง
ศรีสุทโธ
บ้านดุง
บ้านจันทน์
บ้านม่วง
วังทอง
อ้อมกอ

บ้านตาด
ดงเย็น
บ้านชัย
ถ่อนนาลับ
นาคำ
นาไหม
ฝึกอาชีพ
๕-๑๕ มกราคม
๒๕๕๘
กศน.อำเภอบ้านดุง
๓. ติดตามผลและรายงานผลการดำเนินโครงการ
เพื่อติดตามและรายงานผลการฝึกอาชีพให้กับประชาชน
ผู้ที่ได้รับการฝึกอาชีพจากสถานศึกษา กศน.ทั่วประเทศ
กศน.ตำบลทั้ง
๑๓ ตำบล
๑๕ – ๒๐มกราคม ๕๘
-

ขั้นตอนการดำเนินงาน

๑.      ประชุมชี้แจงบุคคลกรและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อชี้แจงการจัดโครงการ
๒.      จัดทำโครงการ เพื่อเสนออนุมัติโครงการ
๓.      จัดหาวิทยากร  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการ
๔.      จัดทำคำสั่ง  แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
๕.      ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน วางแผนและเตรียมการจัดการตามโครงการ
๖.      จัดฝึกอาชีพตามโครงการ
๗.      รายงานผลการจัดกิจกรรม

วิธีการ

จัดกิจกรรมฝึกอบรมอาชีพ หลักสูตรอาชีพ ๕๐ ชั่วโมง โดยการบรรยายให้ความรู้ทางทฤษฎี และลงมือปฏิบัติจริง
สื่อประกอบการดำเนินการ

๑. หลักสูตรอาชีพที่เปิดสอน ทั้ง ๑๓ หลักสูตร
๒. วัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดฝึกสอน
๓. แบบประเมินและรายงานผลการจบหลักสูตร


















บทที่ ๔
ผลการดำเนินการ

๑.      ค่าร้อยละนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการฝึกอาชีพให้กับประชาชน หนึ่งคน หนึ่งอาชีพ (๑๓ อาชีพ)
เป้าหมายนักศึกษาเข้าอบรมตามโครงการ  (๑๓ อาชีพ/๒๐ คน)  จำนวน  ๒๖๐ คน
นักศึกษาเข้าอบรมตามโครงการ  (๑๓ อาชีพ/๒๐ คน)              จำนวน  ๒๖๐ คน
คิดเป็นร้อยละ  ๑๐๐ ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ระดับคุณภาพ  ดีมากหรือมากที่สุด
๒.     ตารางที่ ๑ ค่าร้อยละแบบสอบถามความพึงพอใจ  จำนวน  ๒๖๐ ชุด รายละเอียด ดังนี้


เรื่อง
ระดับความพึงพอใจ
มากที่สุด
(5)
มาก
(4)
ปานกลาง
(3)
น้อย
(2)
น้อยที่สุด
(1)
รวม

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้ารับการอบรม
๑.เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายเพียงใด
๑๔๕
๑๑๕
-
-
-
๒๖๐


๒.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆ จากการอบรม
๑๔๔
๑๑๖
-
-
-
๒๖๐

๓.การฝึกอบรมในครั้งนี้ เพิ่มความรู้และความสามารถเพียงใด
๑๓๔
๑๑๖
๑๐
-
-
๒๖๐

๔.ท่านมั่นใจว่าจะนำสิ่งที่ได้รับไปพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขตัวเองได้เพียงใด
๑๓๐
๑๑๘
๑๒
-
-
๒๖๐

ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม








๑.ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสมเพียงใด
๑๑๐
๑๒๕
๒๕
-
-
๒๖๐

๒.สถานที่ในการอบรม
๑๕๖
๙๕
-
-
๒๖๐

๓.เอกสารประกอบการอบรม
๑๕๘
๗๘
๒๔
-
-
๒๖๐

๔.ประโยชน์ในภาพรวมที่ได้รับจากการอบรม
๑๒๓
๑๓๗
-
-
-
๒๖๐

๕.ความพึงพอใจในภาพรวมของการเข้าอบรม
๑๒๔
๑๐๒
๓๔
-
-
๒๖๐

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร








๑.วิทยากรอบรม  โดยรวมมีคุณ-ภาพและประสิทธิภาพเพียงใด
๑๑๑
๑๒๔
๒๕
-
-
๒๖๐

๒.วิทยากรในการอบรมมีความรู้  ความสามารถในการเสริมความรู้เพียงใด
๑๕๖
๙๙
-
-
๒๖๐

๓.วิทยากรอบรมมีทักษะและประสบการณ์ในการสอนเพียงใด
๑๖๐
๗๑
๒๙
-
-
๒๖๐

๔.วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม มีความพร้อมและเพียงพอเพียงใด
๑๒๓
๑๓๗
-
-
-
๒๖๐

สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้ารับการอบรม
๑.เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๕๕.๗๖
·       มาก              ๔๔.๒๔
·       ปานกลาง        -
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -        
๒.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆ จากการอบรม
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๕๕.๓๘
·       มาก              ๔๔.๖๒
·       ปานกลาง        -
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๓.การฝึกอบรมในครั้งนี้ เพิ่มความรู้และความสามารถเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๕๑.๕๓
·       มาก              ๔๔.๖๒
·       ปานกลาง        ๓.๘๕
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๔.ท่านมั่นใจว่าจะนำสิ่งที่ได้รับไปพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขตัวเองได้เพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๕๐.๐๐
·       มาก              ๔๕.๓๘ 
·       ปานกลาง          ๔.๖๒
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -

ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม
๑.ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสมเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๔๒.๓๑
·       มาก              ๔๘.๐๘
·       ปานกลาง          ๙.๖๑
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๒.สถานที่ในการอบรม
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๖๐.๐๐
·       มาก              ๓๖.๕๔
·       ปานกลาง          ๓.๔๖
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๓.เอกสารประกอบการอบรม
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๖๐.๗๗
·       มาก              ๓๐.๐๐
·       ปานกลาง          ๙.๒๓
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๔.ประโยชน์ในภาพรวมที่ได้รับจากการอบรม
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๔๗.๓๑
·       มาก              ๕๒.๖๙
·       ปานกลาง        -
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๕.ความพึงพอใจในภาพรวมของการเข้าอบรม
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๔๗.๖๙
·       มาก              ๓๙.๒๓
·       ปานกลาง        ๑๓.๐๘
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร
๑.วิทยากรอบรม  โดยรวมมีคุณ-ภาพและประสิทธิภาพเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๔๒.๖๙
·       มาก              ๔๗.๖๙
·       ปานกลาง          ๙.๖๒
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๒.วิทยากรในการอบรมมีความรู้  ความสามารถในการ
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๖๐.๐๐
·       มาก              ๓๘.๐๘
·       ปานกลาง          ๑.๙๒
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๓.วิทยากรอบรมมีทักษะและประสบการณ์ในการสอนเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๖๑.๕๔
·       มาก              ๒๗.๓๑
·       ปานกลาง        ๑๑.๑๕
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -
๔.วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม มีความพร้อมและเพียงพอเพียงใด
ระดับความพึงพอใจ
·       มากที่สุด         ๔๗.๓๑
·       มาก              ๕๒.๖๙
·       ปานกลาง        -
·       น้อย              -
·       น้อยที่สุด         -













๒.ตารางที่ ๒  แสดงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านต่างๆ 
จำนวน ๒๖๐ ชุด  รายละเอียดดังนี้
              รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
จำนวน     รวม
(N)


x


ระดับ
     5
(ร้อยละ)
 4
(ร้อยละ)
3
(ร้อยละ)
2
(ร้อยละ)
1
(ร้อยละ)
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้ารับการอบรม
๑.เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายเพียงใด
๑๔๕
(๕๕.๗๖)
๑๑๕
(๔๔.๒๔)
-
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๖
มากที่สุด

๒.ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆ จากการอบรม
๑๔๔
(๕๕.๓๘)
๑๑๖(๔๔.๖๒)
-
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๗
มากที่สุด

๓.การฝึกอบรมในครั้งนี้ เพิ่มความรู้และความสามารถเพียงใด
๑๓๔
(๕๑.๕๓)
๑๑๖
(๔๔.๖๒)
๑๐
(๓.๘๕)
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๕
มากที่สุด

๔.ท่านมั่นใจว่าจะนำสิ่งที่ได้รับไปพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขตัวเองได้เพียงใด
๑๓๐
(๕๐.๐๐)
๑๑๘
(๔๕.๓๘)
๑๒
(๔.๖๒)
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๔
มาก

รวม
๔.๖
มากที่สุด

ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม


๑.ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสมเพียงใด
๑๑๐
(๔๒.๓๑)
๑๒๕
(๔๘.๐๘)
๒๕
(๙.๖๑)
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๓
   มาก

๒.สถานที่ในการอบรม
๑๕๖
(๖๐.๐๐)
๙๕
(๓๖.๕๔)
(๓.๔๖)
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๖

มากที่สุด

๓.เอกสารประกอบการอบรม
๑๕๘
(๖๐.๗๗)
๗๘
(๓๐.๐๐)
๒๔
(๙.๒๓)
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๕

มากที่สุด

๔.ประโยชน์ในภาพรวมที่ได้รับจากการอบรม
๑๒๓
(๔๗.๓๑)
๑๓๗
(๕๒.๖๙)
-
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๕

มากที่สุด

๕.ความพึงพอใจในภาพรวมของการเข้าอบรม
๑๒๔
(๔๗.๖๙)
๑๐๒
(๓๙.๒๓)
๓๔
(๑๓.๐๘)
-
-
๒๖๐
(๑๐๐)
๔.๔

   มาก

รวม

๔.๕
มากที่สุด

ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร


๑.วิทยากรอบรม  โดยรวมมีคุณ-ภาพและประสิทธิภาพเพียงใด
๑๑๑
(๔๒.๖๙)
๑๒๔
(๔๗.๖๙)
๒๕
(๙.๖๒)
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๓
มาก

๒.วิทยากรในการอบรมมีความรู้  ความสามารถในการเสริมความรู้เพียงใด
๑๕๖
(๖๐.๐๐)
๙๙
(๓๘.๐๘)
(๑.๙๒)
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๖
มากที่สุด

๓.วิทยากรอบรมมีทักษะและประสบการณ์ในการสอนเพียงใด
๑๖๐
(๖๑.๕๔)
๗๑
(๒๗.๓๑)
๒๙
(๑๑.๑๕)
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๕
มากที่สุด

๔.วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม มีความพร้อมและเพียงพอเพียงใด
๑๒๓
(๔๗.๓๑)
๑๓๗
(๕๒.๖๙)
-
-
-
๒๖๐(๑๐๐)
๔.๕
มากที่สุด

รวม

๔.๕
มากที่สุด

วิธีคิด  ค่าที่ได้ คูณ ระดับความพึงพอใจ หารจำนวนรวม(N)ของแต่ละระดับแล้วนำมาบวกกันจะได้ค่า x


บทที่  ๕
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

๑. จากแบบประเมินความพึงพอใจ
ผลประเมินตัวชี้วัดความสำเร็จ

. เชิงปริมาณ
)  จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
                         จากจำนวนผู้ลงทะเบียนอบรมฝึกอาชีพ  ๑๓ ตำบล ตำบลละ๒๐ คน ทั้งสิ้น  ๒๖๐  คน  แยกตามกลุ่มเป้าหมาย  ดังนี้
                         ๑.๑  ผู้ที่ต้องการมีทักษะความรู้เพื่อสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  จำนวน  ๑๐๓   คน
                         ๑.๒  ผู้ที่ต้องการมีอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้                        จำนวน  ๑๑๗    คน
                         ๑.๓  ผู้ที่ต้องการต่อยอดอาชีพ                                      จำนวน     ๔๐   คน
                    ๒). จำนวนผู้ผ่านเกณฑ์การอบรมตามโครงการ (หลักสูตรระยะสั้น)  ทั้งสิ้น   ๒๖๐  คน
                       - บรรลุเป้าหมาย  ร้อยละ ๑๐๐ เนื่องจาก เป้าหมาย ๒๖๐ คน มีผู้เข้าร่วมอบรม ๒๖๐ คน
) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ 
    - บรรลุเป้าหมาย เนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ   พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ๔.๕ หรือ เท่ากับ ร้อยละ ๘๐ โดยมีลำดับดังนี้

๑.ระดับความพึงพอใจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้ารับการอบรม ค่าเฉลี่ย ๔.๖ (คะแนนเต็ม ๕)  อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด  โดยมีระดับความพึงพอใจดังนี้
๑)      ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากการอบรม  ค่าเฉลี่ย๔.๗
๒)      เนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย ค่าเฉลี่ย ๔.๖
๓)      การฝึกอบรมในครั้งนี้  เพิ่มความรู้และความสามารถเพียงใด ค่าเฉลี่ย ๔.๕
๔)      ท่านมั่นใจว่าจะนำสิ่งที่ได้รับไปพัฒนาปรับปรุงและแก้ไขตัวเองได้เพียงใด ค่าเฉลี่ย ๔.๔
๒.ระดับความพึงพอใจความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร ค่าเฉลี่ย ๔.๕  (คะแนนเต็ม ๕)  
               ) วิทยากรอบรม  โดยรวมมีคุณ-ภาพและประสิทธิภาพเพียงใด ค่าเฉลี่ย ๔.๖
     ๒) วิทยากรอบรมมีทักษะและประสบการณ์ในการสอนเพียงใด  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม มีความพร้อมและเพียงพอเพียงใด  ค่าเฉลี่ย  ๔.๕๕
     ๓) วิทยากรอบรม  โดยรวมมีคุณ-ภาพและประสิทธิภาพเพียงใด ค่าเฉลี่ย ๔.๓
๓.ระดับความพึงพอใจความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม  ค่าเฉลี่ย ๔.๕  (คะแนนเต็ม ๕)  
    ๑) สถานที่ในการอบรม ค่าเฉลี่ย ๔.๖
    ๒) เอกสารประกอบการอบรม  และประโยชน์ในภาพรวมที่ได้รับจากการอบรม ค่าเฉลี่ย ๔.๕
    ๓) ความพึงพอใจในภาพรวมของการเข้าอบรม ค่าเฉลี่ย ๔.๔  
    ๔) ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสมเพียงใด ค่าเฉลี่ย ๔.๓ เป็นประเด็นที่ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจน้อยที่สุด









      
           ภาคผนวก